เปิดโลกอาเซียน
-
สสค.-มูลนิธิร่มฉัตร เดินหน้าสร้างความพร้อม “ศูนย์ศึกษาอาเซียนภาคกลาง”
พระธรรมภาวนาวิกรมยก “สมุทรสาคร” ภาพอนาคต “ชุมชนอาเซียน” เหตุแรงงานต่างด้าวสูงสุดในประเทศ รุก ‘ภาษาพม่า’ เพื่อเตรียมพร้อมเปิด AEC ด้านหอการค้าจังหวัดหนุน หวังลดปัญหา “นายหน้าขายแรงงาน” วงจรแรงงานข้ามชาติผิดกฎหมาย
-
เชียงรายปักธงจังหวัดนำร่อง “ศูนย์ศึกษาอาเซียนภาคเหนือ” ส.ส.เชียงรายชี้ “ภาษา” จุดอ่อนค้าขายชายแดนไทย เหตุเตรียมเปิดด่านเชียงของ หวั่นไทยเสียเปรียบ ด้านสภาหอการค้าเชียงรายเปรียบไทยเหมือน “รถม้าลำปาง” ไม่มองเพื่อนบ้าน ยกภาษา “พม่า-จีน” จำเป็นในการรุกตลาด AEC
เมื่อวันที่ 15 มีนาคม ที่โรงเรียนบ้านแม่จัน จ.เชียงราย สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ร่วมกับมูลนิธิร่มฉัตร และโรงเรียนบ้านแม่จัน จัดการประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมจังหวัดนำร่องสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย หอการค้าจังหวัด ประชาสัมพันธ์จังหวัด สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาเชียงราย. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย มหาวิทยัยแม่ฟ้าหลวง สถานีตำรวจภูธรแม่จัน ครูและผู้บริหารร.ร.แม่จัน จ.เชียงราย เข้าร่วมประชุม
-
สสค.ร่วมมูลนิธิร่มฉัตร เดินสายขยายผล “บวรโมเดล” จากระดับชุมชนสู่ภูมิภาค
ชี้ภาคใต้แรงงานต่างชาติสะพัด ร่วม 3 แสนคน ขณะที่ “สงขลา” ติดจังหวัดอันดับ 2 ที่แรงงานต่างชาตินิยมทำงาน ด้านแรงงานไทยสะพัดไปมาเลเซียกว่า 1.5 แสนคน ทำเงินปีละไม่ต่ำ 3 พันล้าน พระธรรมภาวนาวิกรม ยก “ภาษามลายู” คำตอบของเด็กใต้ ขณะที่ประธานหอการค้าสงขลาทุ่มงบ 16 ล้าน ชู 5 นโยบายหลักเตรียมพร้อม AEC ย้ำ “ภาษาค้าขาย” กลายเป็นทักษะจำเป็นเร่งด่วนคนไทย
-
รมว.ศึกษาชี้ชุมชนไตรมิตรต้นแบบชุมชนเตรียมความพร้อมสู่เออีซี
รมว.ศึกษา ชี้ชุมชนวัดไตรมิตร ต้นแบบชุมชนเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ฝึกเยาวชนเรียนรู้ภาษาที่ 3 ขณะที่มูลนิธิร่มฉัตร-สสค. เล็งขยายผลสู่ 4 จังหวัด “สมุทรสาคร-เชียงราย-อุบล-สงขลา” ท่านเจ้าคุณเผย สมุทรสาคร แรงงานต่างด้าวสูงสุดของประเทศ พบ90% เป็นชาวพม่า จึงควรเรียนรู้ภาษา-วัฒนธรรม พร้อมเปิดพื้นที่สงขลา เป็นประตูสู่ภาษามลายูหวังเชื่อมโลกมุสลิม 50% ของอาเซียน
-
นิทรรศการ "เล่าเรื่องด้วยภาพ เรียนรู้ความต่าง มองประชาคมอาเซียน"
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ร่วมกับชุมชนคนรักภาพถ่าย (Shutterism.com) ได้ทำโครง การ ประกวดภาพถ่ายภายใต้เพื่อหัวข้อ "คิดอย่างอาเซียน" (Think ASEAN) ขึ้น
-
ประกาศผลสุดยอดภาพถ่าย สะท้อนมุมมอง “คิดอย่างอาเซียน”
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ร่วมกับ Shutterism.com จัดกิจกรรมประกวดสุดยอดภาพถ่ายต้อนรับการเปิดประชาคมอาเซียน ในหัวข้อ “Think ASEAN: คิดอย่างอาเซียน” เพื่อเตรียมความพร้อมเด็กเยาวชนไทยในการเปิดประชาคมอาเซียนในปี 2558 หรือ คศ.2015 โดยแบ่งเป็น 2 หัวข้อ คือ
-
มูลนิธิร่มฉัตร ร่วมสสค.ประชุมเตรียมความพร้อมผลัก “ชุมชนเยาวราช” ต้นแบบ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เมื่อเร็วๆนี้ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) และมูลนิธิร่มฉัตร ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อเตรียมความพร้อมโครงการพัฒนาต้นแบบสาธิตชุมชนวัด ไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ในการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซี่งจะจัดขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายนนี้
-
สสค. จับมือมูลนิธิร่มฉัตร ยก ‘ชุมชนเยาวราช’ ต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง รุกรับอาเซียน พร้อมเปิดตัว ‘ห้องเรียนอาเซียน’- ‘คอร์สภาษาพม่า’ ต่อยอด ‘อนาคตเจ้าสัวน้อย’ ตอกย้ำ “ชุมชน” ต้องเรียนรู้วิเคราะห์จุดเด่นท้องถิ่น สู้ตลาดเสรีอาเซียน
สสค. จับมือมูลนิธิร่มฉัตร ยก ‘ชุมชนเยาวราช’ ต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง รุกรับอาเซียน พร้อมเปิดตัว ‘ห้องเรียนอาเซียน’- ‘คอร์สภาษาพม่า’ ต่อยอด ‘อนาคตเจ้าสัวน้อย’ ตอกย้ำ “ชุมชน” ต้องเรียนรู้วิเคราะห์จุดเด่นท้องถิ่น สู้ตลาดเสรีอาเซียน
-
คิดอย่างอาเซียน : Think ASEAN เปิดเรื่องเล่าสังคมวัฒนธรรมผ่านเลนส์
เหลือเวลาอีกเพียงไม่ถึง 1,000 วัน (ภายในปี 2558 ) ประเทศไทยและประเทศในกลุ่มภูมิภาคอาเซียน จะร่วมกันเปิดประตูสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างเป็นทางการ เพื่อ มุ่งสู่ความเป็นตลาดเดียว และฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจของประชาคมอา เซียนและประเทศสมาชิกในเวทีโลก
-
เปิดห้องเรียนภาษาพม่า “รู้เขา รู้เรา” ติดอาวุธ พร้อมรับสังคมอาเซียน
“มิงกลาบา” หรือ “สวัสดี” “เจซูติน บาแด” หรือ “ขอบคุณมาก” “ควินโละ บ่าหน่อ” หรือ “ขอโทษ” เป็นหนึ่งในภาษาพม่าที่ชุมชนเยาวราช กำลังเรียนรู้เพื่อปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซึ่งจะมาถึงในปี 2558